- การลื่นไถล / การหล่อลื่น
การพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็งคืออะไร ?จะอธิบายเกี่ยวกับ [Drilube] ที่สามารถพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็ง
จาระบีและoil จะถูกใช้เพื่อทำให้เกิดการลื่นไถลได้ดีขึ้นในชิ้นงาน แต่ว่าก็
มีวิธีการที่ทำให้ฟิล์มแบบฟิล์มหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็งเคลือบได้อีก ตอนที่อยากทำให้เกิดการลื่นไถลได้ดีโดยที่ไม่ต้องใช้ Oilและจาระบี ทางเราขอแนะนำ การพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็งเพื่อให้ทำการลื่นไถลด้วยฟิล์มที่แห้งแล้ว
แต่ถึงอย่างนั้น การพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็งนั้นคืออะไร น่าจะมีบางท่านที่ยังไม่เข้าใจรายละเอียด ในจุดนี้ ขอแนะนำ เกี่ยวกับวัสดุที่ให้ความหล่อลื่นที่นำมาใช้ประโยชน์ และ เค้าความของการพ่นเคลือบนี้ เนื่องจากขอแนะนำตัวอย่างการนำไปใช้งานและจุดเด่นของตัว[drilube]ของบริษัทเราในการนำมาพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็ง จึงอยากให้พิจารณาจนจบด้วย
การพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็งคืออะไร ?
สำหรับวิธีการทำให้ชิ้นส่วนลื่นไถลได้ดี โดยทั่วไปแล้วเราจะใช้ การหล่อลื่น แบบเหลวเช่น Oilและจาระบี แต่ก็มีบางเคสที่ไม่สามารถใช้การหล่อลื่น แบบเหลวได้ด้วยเหตุผลต่างๆนาๆ ในส่วนที่เคลื่อนไหวของอุปกรณ์ ในชิ้นส่วนที่ไม่สามารถใช้การหล่อลื่นแบบเหลวได้นั้นเราก็สามารถใช้การ พ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็ง
การพ่นเคลือบนี้ เป็นการพ่นเคลือบที่หน้าผิวชิ้นส่วนวัสดุที่ผสมเรซิ่นและ สารหล่อลื่นเรียกว่า สารหล่อลื่นแบบฟิล์มแข็งเช่น Fluoropolymer หรือ Molybdenum disulfide เป็นเทคนิคที่ทำให้ก่อตัวเป็นฟิล์มและทำให้ลื่นไถล สำหรับฟิล์มที่ทำให้ลื่นไถลแล้ว เป็นการนำมาใช้งาน ด้วยวิธีการใช้เหมือนกับการชุบที่มีการผสมเม็ดสีที่มีความลื่นแข็งตัว เรียกว่า เป็นการชุบ ผิวลื่นหรือ ฟิล์มคาร์บอนที่มีความแข็ง ที่มีวัสดุแกนกลางของGraphite กับDiamond ที่เรียกว่าการ DLC Treatment (Diamond Like Carbon)
เมื่อทำการพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็ง จะทำให้เกิดการลื่นไถลได้ดีในตอนที่ทำการไถล และสามารถลดการเสียดสีได้ เมื่อทำการลดการเสียดสีลงได้ก็จะทำให้สามารถรักษาเรื่องการสึกกร่อนและ การเคลื่อนไหวNGได้และจะได้ผลลัพที่ทำให้ยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์และชิ้นส่วนได้นานอีกด้วย
คุณสมบัติที่หล่อลื่นที่เป็นตัวอย่างซึ่งถูกพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็ง
ในตอนที่ทำการพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็ง เพื่อที่จะทำให้ก่อตัวเป็น ฟิล์มที่ลื่นไถล ได้มีการผสมวัสดุที่ทำให้หล่อลื่น จะขอแนะนำจุดเด่นนั้น กับชนิดของวัสดุที่ลื่นไถลที่ใช้ในส่วนผสมหลัก
Molybdenum Disulfide
Molybdenum Disulfide เป็นวัสดุที่มีความลื่นไถล ที่เกิดจากหินแร่ธรรมชาติที่เรียกว่า หินแร่โมริบดิไนด์ (Molybdenite) เป็นหลัก เป็นสารประกอบกันระหว่างอะตอมซัลเฟอร์ 2 ชนิด และ อตอม โมลิบดินัม1ชนิด ในสัญลักษณ์ทางเคมีคือ MoS2
ค่าสัมประสิทธิแรงเสียดทานของ Molybdenum disulfide อยู่ที่ประมาณ 0.04 มีลักษณะเด่นในการเสียดทานต่ำ อีกทั้ง ทนต่อแรงโหลดสูงและสามารถใช้ได้ตั้งแต่แรงโหลดต่ำไปจนถึงแรงโหลดสูง
ความลับที่สร้างเป็นจุดเด่นเรื่องการหล่อลื่นนั้น อยู่ในโครงสร้างโมเลกุล
โครงสร้างโมเลกุลของ Molybdenum disulfide จะเป็นโครงสร้างของโมเลกุลเด่นในชั้นโมเลกุล เป็นลักษณะเด่น ธาตุSulfur 2ชนิดโครงสร้างที่คั่นโมเลกุล โมลิบดินั่มสองฝั่ง โมลิบดินั่มและซัลเฟอร์รวมเข้าด้วยกันและรับตัวซัลเฟอร์ที่มีคุณสมบัติการรวมตัวได้น้อย สรุปคือ ตอนที่เพิ่มแรงเข้าไป จะทำให้เกิดการเลื่อนชั้นของตัวซัลเฟอร์ที่รวมตัวได้น้อย และทำให้เกิดการลื่นไถลออกมา
Fluororesin
Fluororesin เป็นคำทั่วไปของวัสดุที่เป็นวัตถุดิบตั้งต้นของพลาสติกที่มีการผสมของโมเลกุล ฟลูออไรด์ไว้ด้วย ซึ่งก็มีหลายชนิด เช่น PTFE (polytetrafluoroethylene)/ FEP (Perfluoro ethylene propylene copolymer) /PFA (Perfluoro alkoxy alkanpolymer) มีความแตกต่าง ในจุดเด่นและ อุณหภูมิที่ทนความร้อน
ค่าสัมประสิทธิ์เสียดทานของFluoropolymer อยู่ที่ 0.03~0.04 โดยเฉพาะที่ส่งผลดีต่อการเสียดทานต่ำนั้นคือ PTFE ในค่าสัมประสิทธิแรงเสียดทานนั้นมีอยู่2แบบ คือ สัมประสิทธิเสียดทานสถิต (ค่าสัมประสิทธิเสียดทานที่เกิดขึ้นในตอนที่ไปขยับสิ่งที่หยุดกับที่) และค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลย์ (ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานเกิดขึ้นตอนที่ทำการเคลื่อนไหว) PTFEไม่ว่าจะแบบไหนก็ค่าจะต่ำ ค่าสัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิตกล่าวว่าเล็กกว่าFluororesinอื่นๆ
ชนิดของFluororesin | สัมประสิทธิเสียดทานสถิต |
---|---|
PTFE | ระดับ 0.06 |
PFA | ระดับ 0.08 |
FEP | ระดับ 0.14 |
* ข้อมูลนี้เป็นหนึ่งในตัวอย่างไม่สามารถนำมารับประกันทางตัวเลขได้
กรณีที่ PTFE มีส่วนประกอบมาจาก โมเลกุลคาร์บอน ( C ) และ โมเลกุลฟลูออไรด์ (F) มีลักษณะเด่นในการที่โมเลกุลต่อกันเป็นโซ่ตรงในทางเคมี อะตอมฟลูออไรด์ที่อยู่รอบๆอะตอมคาร์บอน อยู่ในพื้นที่ไม่มีช่องว่างอยู่ การขรุขระของหน้าผิวจึงมีน้อย และทำให้เกิดการลื่นไถลได้
อีกทั้งFluororesin จะมีความสามารถในการเบียดเสียดที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับแต่ละชนิด นอกจากการที่มีความเสียดทานต่ำแล้ว ยังมีจุดเด่นเรื่องของการ ไม่ยึดเกาะ ทนต่อสารเคมี ทนการกัดกร่อน ทนต่อความร้อน เป็นฉนวนกั้นไฟฟ้า
แกรไฟต์
グแกรไฟต์ (Graphite) เป็นสสารที่ก่อตัวมาจากคาร์บอน เป็นลักษณะที่ เหมือนกับ Diamondหรือ Carbon ในสัญลักษณ์เดิมนั้น มีCอยู่
ตัวแกรไฟต์ก็มีโครงสร้างโมเลกุลที่เป็นชั้นเหมือนกับMolybdenum disulfide ลักษณะเด่นที่เป็นการก่อตัวในการเชื่อมต่อของชั้นรูปร่าง 6 เหลี่ยม ชั้นนี้เมื่อเป็นด้านแกนแนวนอน จะมีแรงเชื่อมต่อที่แรง ในทางกลับกัน ถ้าเป็นด้านแกนแนวตั้งแรงเชื่อมก็จะน้อยลงจึงเกิดเป็นการ ลื่นไถลที่ขึ้นอยู่กับสิ่งนั้น
สัมประสิทธิแรงเสียดทาน เมื่อเทียบกับFluororesinและMolybdenum disulfide เป็นค่าที่สูง ถ้ามองโดยภาพรวมก็จะเป็นผลดีต่อการที่แรงเสียดทานต่ำ เนื่องจากส่งผลดีต่อการที่ทำให้ความร้อนคงที่ ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูงแล้ว ก็จะสามารถใช้ได้ในการทนอุณหภูมิสูงได้ถึง 500 ℃
อื่นๆ
ส่วนผสมหลักของการพ่นเคลือบหล่อลื่นด้วยฟิล์มแข็งหลักๆ ก็จะมีอยู่ 3ชนิดคือ Fluororesin ,Molybdenum disulfide ,Graphite ก็จะมีกรณีที่ใช้ส่วนประกอบตามดังต่อไปนี้
- Tungsten disulfide
- โบรอน ไนไตรด์
- ไมก้า
- ทัลค์
- แคลเซียมฟลูออไรด์
- ซิลิกอนไดออกไซด์
- ฟูลเลอรีน
- ท่อนาโนคาร์บอน
- โลหะมวลเบา (ทอง เงิน ทองแดง ตะกั่ว ดีบุก)
เพราะว่ามีสารที่ทำให้ลื่นไถลง่าย จึงได้นำมาใช้เป็นสารหล่อลื่นชนิดแข็ง
DRILUBE คืออะไร
Drilube เป็นฟิล์มที่มีความสามารถมากมายที่มีผลต่อฟังค์ชั่นหลากหลาย เป็นฟิล์มที่ไม่ใช่แค่เพื่อการลื่นไถลอย่างเดียว แต่ยังทนต่อสารเคมี ทนต่อการกัดกร่อน เป็นฉนวนไฟฟ้า ส่วนชื่อก็มาจาก [DRY SOLID FILM LUBRICANTs] ที่มีความหมายว่าสารหล่อลื่นที่เป็นฟิล์มแข็ง
ส่วนประกอบหลัก ก็จะใช้สะสารลื่นเช่น Fluororesin ,Molybdenum disulfide ,Graphite เป็นการเพิ่ม Special binderเข้าไป(ส่วนผสมในการผสานกัน) และเป็นสินค้าที่ใช้เทคนิคการแตกตัวและเทคนิคการผสมที่ก้าวหน้าและแสดงออกมาเป็นฟิล์มที่มีความสามารถหลากหลาย
Drilube มีความสามารถในการก่อตัวเป็นฟิล์มที่มีฟังค์ชั่นดังต่อไปนี้
- ความลื่นไถล
- ความคงทนต่อการเสียดสี
- ความคงทนต่อการกัดกร่อน
- ความคงทนต่อสารเคมี
- สร้างความคุ้นเคยให้กับชิ้นงานในช่วงเริ่มต้น
- ฉนวนกั้นกระแสไฟฟ้า
มีลักษณะเด่น เรื่องการคงที่ การเคลื่อนที่ได้ดี ที่ดีแม้อยู่ในสภาพแวดล้อม ที่โหดร้าย หรือ สิ่งแวดล้อมที่พิเศษเช่น อุณหภูมิที่สูง อุณหภูมิต่ำ และ ข้อจำกัดของน้ำมันหล่อลื่น ภายใต้รังสี สิ่งแวดล้อมสนิมกัดกร่อน สูญญากาศ มีทั้งวัสดุที่สามารถใช้ได้อยู่หลายอย่างเช่น โลหะ ยาง พลาสติก โดยที่ไม่ว่า จะเป็นรูปร่างหรือขนานแบบไหน ก็สามารถพ่นเคลือบกลบในชิ้นส่วนได้หลากหลาย
เนื่องจากเป็นการลื่นไถลแบบคงที่ จึงทำให้ลดการซ่อมบำรุงลงได้ สามารถที่จะยืดอายุการใช้งานและสร้างความคงทนต่อ วัสดุและชิ้นส่วน เนื่องจากมีฟังค์ชั่นที่มากมาย จึงเป็นการแสดงให้เห็นว่าใช้ได้กับในหลากหลายธุรกิจไม่ว่าจะเป็น อุปกรณ์ชิ้นส่วนการบินและอวกาศ อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ อุปกรณ์การผลิต ชิ้นส่วนเลนส์ สารกึ่งตัวนำ ชิ้นส่วนไฟฟ้า อุปกรณ์OA รถยนต์
โครงสร้างฟิล์มสีของDRILUBE
ในโครงสร้างของฟิล์ม Drilube มีอยู่3ชนิด Fluororesinแบบหลอมละลาย Fluororesin bleed แบบหลอมละลาย แบบกระจาย
แบบกระจายมีลักษณะเด่น ภายในBinder มีวัสดุที่มีฟังค์ชั่นแต่ละชนิดแยกกระจายอยู่ เช่นเม็ดสีที่ลื่นไถลที่ทำให้เกิดการเสียดทานต่ำ และการส่งผลต่อฟังค์ชั่นที่เกิดจาก วัสดุอื่นๆและBinder
Fluororesin bleed แบบหลอมละลาย ได้ทำการจัดการฟิล์มแบบละเอียดที่มีโครงสร้างมาจาก Fluororesin และ binder ด้วยน้ำร้อน ทำให้ Fluororesin ที่อยู่ใกล้ๆผิวหน้าละลายเป็นน้ำ และทำให้ก่อตัวเป็นฟิล์ม
Fluororesin แบบหลอมละลาย เพื่อที่จะทำให้การยึดเกาะกับแผ่น circuitได้สูงจึงทำการ Primer treatment หนึ่งในนั้นก็มีการก่อตัวเป็นฟิล์ม จากการละลาย Fluororesin ด้วยอุณหภูมิสูง อีกทั้ง และเพราะว่าFluororesin เป็นเบส จึงทำให้มีข้อดีในการ เป็นฉนวนไฟฟ้า การทนต่อสารเคมี และ การไม่ติดแน่นได้
สัมประสิทธิแรงเสียดทานแตกต่างกันขึ้นอยู่กับก่อนหลังการ drilube treatment
หลังการDrilube treatment อาจจะมีบางท่านคิดว่าค่าสัมประสิทธิเสียดทานจะ เปลี่ยนไปแค่ไหน ในจุดนี้ จะขอแนนนำการเปลี่ยนค่าสัมประสิทธิแรงเสียดทาน ก่อนและหลังทำการ Drilube Treatment ในแต่ละวัสดุ
วัสดุงาน | ก่อนการ drilube treatment | หลังการ drilube treatment |
---|---|---|
อลูมิเนียม | 1.3 | 0.1 |
ยางซิลิโคน | 1.3 | 0.4~0.6 |
SUS304 | 0.7 | 0.2 |
โพลิคาร์บอเนต | 0.5 | 0.2 |
SPCC-SB | 0.4 | 0.2 |
* ข้อมูลนี้เป็นหนึ่งในตัวอย่างไม่สามารถนำมารับประกันทางตัวเลขได้(ซ้ำกับ16)
ค่าสัมประสิทธิแรงเสียดทานไม่ว่าจะเป็นวัสดุแบบไหนก็มีค่าน้อย จากผลลัพธ์นี้ จะทราบว่า Drilube เป็นฟิล์มที่ส่งผลดีต่อการเสียดทานต่ำ
ตัวอย่างการนำไดรลูปไปใช้ประโยชน์
Drilube ได้มีการถูกใช้ประโยชน์ ในหลายอุตสาหกรรมในฐานะการพ่นเคลือบ ลื่นไถลฟิล์มแบบแข็ง โดยรูปธรรมแล้วจะนำไปใช้ประโยชน์แบบไหน เพราะได้ มีการแนะนำ ตัวอย่างที่ใช้ประโยชน์ ในอุตสาหกรรมอื่นๆ จึงอยากให้พิจารณาด้วย
การนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมยานยนต์
กรณีที่เป็นรถยนต์ เป็นการพ่นเคลือบให้ลื่น ไถลในแต่ละPart ของชิ้นส่วนเครื่องยนต์ สามารถทำให้การเสียดสีและการสึกกร่อนน้อยลง ชิ้นส่วนหลัก ที่ใช้ใน Drilube Treatment มีดังนี้
- Gas Injector
- Throttle Valve
- Throttle Shaft
- release Spring
- Reed Plate
- Idle Speed Control Valve
- Plunger
- ECV Housing
- Axell
- EGR Housing
- บูส
- ไม้ปัดน้ำฝน
- Diaphragm
ตัวอย่างการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมไฟฟ้าเบา
แม้แต่ในอุตสาหกรรมไฟฟ้ากำลังน้อยที่เรียกว่าการส่งสัญญาณ ・AV・OA Drilube ก็นำมาใช้ประโยชน์อย่างมาก Part ที่ใช้นำมาพ่นเคลือบก็มีดังนี้
- Hub
- Roller Type
- แผงนำกระดาษ
- STEM
- เคส
- ดิสไกด์
- มอเตอร์เฮาซิ่ง
- แมกกาซีนสปริง
- สไลเดอร์
- Guide Shaft
- Clutch
ตัวอย่างการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมเลนส์ส่อง
ทางเราขอแนะนำการพ่นเคลือบในอุปกรณ์เลนส์ ที่จะใช้ประโยชน์ในเรื่องคุณสมบัติ และปฏิกิริยาของแสง เช่น Projector, Endoscope , Microscope ,Digital Camera Drilube สามารถใช้ในการพ่นเคลือบลื่นไถล ในPart ต่อไปนี้ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการหล่อลื่นและให้ผิวมีความด้านไม่มีความวาว
- Inner Clip Washer
- แผ่นปิดเลนส์กล้อง
- กระบอกเลนส์
- เฮลิคอย
- Zoom Shaft
- แหวนกั้นแสง
ตัวอย่างการใช้งานในอุตสาหกรรมอื่นๆ
Drilube นอกจากที่กล่าวไปเบื้องต้นแล้วยังสามารถใช้ในการพ่นเคลือบให้มีความลื่น ในอุตสาหกรรมที่หลากหลายเช่น infrastructure equipment จำพวก จักรยาน น้ำประปา แก๊ส ชิ้นส่วนที่ทำการพ่นเคลือบ มีดังนี้
- เพลา
- บอลวาร์ว
- วาร์วหมุน
- สายพานเพลาลูกเบี้ยว
ลำดับการพ่นเคลือบงานโดยทั่วไปในตอนที่มีการร้องขอให้ทำการ Drilube Treatment
เนื่องจากในToyo Drilube เป็นบริษัททำธุรกิจการพ่นเคลือบ จึงสามารถทำ Drilube treatment ได้ สำหรับขบวนการของการพ่นเคลือบทั่วไปของ Drilube treatmentนั้น เป็นไปดังนี้
เพราะว่าดำเนินการโดยสตาฟที่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องคุณสมบัติของสาร พ่นเคลือบแต่ละชนิด จึงสามารถแสดงให้เห็นว่าเป็นการพ่นเคลือบการลื่นไถลที่ เหมาะสมที่สุด อีกทั้งยังมีเทคนิคการพ่นเคลือบในระดับสูง จึงสามารถ รองรับความต้องการได้ในวงกว้าง
ขอให้พิจารณาการtreatment แบบไดรลูปด้วย
การพ่นเคลือบลื่นไถลที่เป็นฟิล์มแข็ง โดยที่ไม่ใช้จาระบีหรือ Oil ที่ทำให้เกิด การหล่อลื่นที่หน้าผิวในชิ้นงานนั้นจากสารลื่นไถลแบบแข็ง จะทำให้ไประงับ การเสียดสีและการสึกกร่อนได้ สามารถป้องกันการเสื่อมสภาพและการเคลื่อนไหว ที่ไม่ดีของอุปกรณ์ เป็นการพ่นเคลือบเพื่อใช้ประโยชน์ในการหล่อลื่นในส่วนที่ Oilและ จาระบีไม่สามารถทำได้
Drilube เป็นฟิล์มที่มีความสามารถหลากหลาย นอกจากความลื่นไถลแล้ว ยังเป็นฟิล์มที่สามารถก่อตัวที่มีความสามารถในฟังค์ชั่นหลายอย่างเช่นฉนวนไฟฟ้า ทนต่อสารเคมี ทนต่อการผุกร่อน
ในบริษัท Toyo Drilube นั้นสามารถที่จะทำการDrilube Treatment ทั้งในและนอกประเทศ มีอยู่ 3 สาขา สำหรับต่างประเทศคือ จีน ไทย เวียดนาม เพราะว่าสามารถที่จะพ่นเคลือบในชิ้นส่วนได้หลากหลายในระดับที่ดี ตอนที่ต้องการให้ทำการ Drilube Treatment ขอให้เข้ามาปรึกษาได้เสมอ
กลับไปหน้าก่อน